18 มิถุนายน 2551

รายวิชา 2552511 ชื่อวิชา สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ประมวลการสอน (Course Syllabus)
Block Course 15



รายวิชา 2552511 ชื่อวิชา สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(Peace Studies for Local Development)
จำนวน 3 หน่วยกิต 3(3-0-3)



อาจารย์ผู้สอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุริยันต์ สุวรรณราช
อาจารย์สุนทรีพรรณ กำปั่นทอง
อาจารย์วันวิสา หนูหอม
อาจารย์ธัชชัย แก้ววารี



ภาคการศึกษาที่ 3 ปีการศึกษา 2550
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการปกครองท้องถิ่น
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช


องค์ประกอบ / สาระสำคัญ

1. ปรัชญา / วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญาของหลักสูตร : บริหารงานดี มีภาวะผู้นำ สัมพันธ์ท้องถิ่น
1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีความรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ วิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติงานด้านการบริหาร ระดับปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศ
1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบอบการบริหารราชการระดับท้องถิ่นอย่างแท้จริง มีบทบาทส่งเสริมการกระจายอำนาจด้านเศรษฐกิจ การเมืองการปกครองและสังคมวัฒนธรรม
1.2.4 เพื่อเป็นศูนย์บริการและเผยแพร่ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร การบริหารองค์กร การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณและการบริหารแผนงาน โครงการแก่หน่วยงานและบุคลากรในท้องถิ่น
1.2.5 เพื่อนำผลการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การให้บริการทางวิชาการและการฝึกอบรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศ

2. รหัสและชื่อวิชา
รหัส 2552511
ชื่อวิชา สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (Peace Studies for Local Development)

3 หน่วยกิต
3(3-0-3) (จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 3 ชม. ปฏิบัติการ - ชม. ศึกษาด้วยตนเอง 3 ชม.)

4. สังกัดวิชา
วิชาบังคับสำหรับหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์





5. คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
ชุมชนท้องถิ่นกับเสถียรภาพและความมั่นคง บทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชน ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้ง ทักษะการเจรจาการต่อรองและการไกล่เกลี่ย การอำนวยความสะดวกและการจัดประชาพิจารณ์ กลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ
ทักษะกลไกในการบริหารความขัดแย้ง วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชน
Local community stability and security; roles, methods and process of public participation; philosophy, concepts, theory of peace study and conflicts; negotiation skills and bargaining, facilitation and public hearing management, strategy and tactics of conflicts management; skills and mechanism for conflicts management; culture and local knowledge for cooperation, community peace.

6. วัตถุประสงค์ของรายวิชา (Course Objectives)
6.1 นักศึกษาสามารถอธิบายความหมาย แนวคิดและความสำคัญเกี่ยวกับการศึกษาสันติภาพและสันติศึกษาได้
6.2 นักศึกษามีทักษะในการคิดและวิเคราะห์แนวทางเพื่อสันติภาพและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
6.3 นักศึกษามีความตระหนักในความสำคัญของสันติภาพ ผลของการกระทำรุนแรง และเชื่อมั่นในแนวทางการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี
6.4 นักศึกษาสามารถนำแนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งไปประยุกต์ใช้ในการสร้างความเสถียรภาพและความมั่นคงของท้องถิ่นได้

7. วิธีการ / กิจกรรมการเรียนการสอน
4.1 บรรยาย
4.2 อภิปราย แสดงความคิดเห็นหรือแบบสัมมนา
4.3 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และนำเสนอเป็นรายบุคคล/กลุ่ม
4.4 กรณีศึกษา (Case study)

8. สื่อ เอกสารประกอบการเรียนการสอน
5.1 เอกสารตำราหลัก วิชาสันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
5.2 เอกสารประกอบการสอนวิชาสันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
5.3 สื่อ Power Point หรือ Internet
5.4 สื่อ VDO หรือ เทป
5.5 แผ่นใส หรือ แผ่นทึบ
9. การวัดผลการศึกษา
6.1 คะแนนระหว่างภาค 40 คะแนน แบ่งเป็น
6.1.1 ทดสอบย่อย หรือ กรณีศึกษา (Case study) 30 คะแนน*
6.1.2 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 10 คะแนน**
6.2 คะแนนสอบปลายภาค 60 คะแนน***
รวม 100 คะแนน

* การสอบย่อย หรือ กรณีศึกษาโดยการวิเคราะห์จากข่าว บทความ หรือเนื้อหาที่เกี่ยวกับสันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จากเอกสาร วารสาร ตำราหรือหนังสือพิมพ์ต่างๆ
** การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน หรือ การมีส่วนร่วมในลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานหรือกิจกรรมของหลักสูตรและคณะ
***No Make-up Exam (ไม่มีการจัดสอบย้อนหลัง)

10. การประเมินผลการศึกษา
7.1 รายวิชานี้ประเมินผลโดยให้สัญลักษณ์ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ E
7.2 การประเมินถือเกณฑ์ตามวัตถุประสงค์รายวิชา (ข้อ3) และคะแนนการวัดผลการศึกษา (ข้อ 6) โดยคำนวณผลการประเมินอิงเกณฑ์และกลุ่ม
7.3 ใช้ระเบียบการประเมินผลและระเบียบการสอบของมหาวิทยาลัยเป็นสำคัญ
7.4 ประกาศผลการประเมิน (เกรด) ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2551

11. แผนการสอน
ครั้งที่/
วันที่ รายการสอน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนและกิจกรรม กลุ่มเรียน/ผู้สอน
1
15 มี.ค.51 บทที่ 1 ชุมชนท้องถิ่นกับเสถียรภาพและความมั่นคง 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของชุมชนท้องถิ่นกับเสถียรภาพและความมั่นคง
2. สามารถอธิบายและนำเสนอเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นกับเสถียรภาพและความมั่นคงของท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์


ครั้งที่/
วันที่ รายการสอน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนและกิจกรรม กลุ่มเรียน/ผู้สอน
2
16 มี.ค.51 บทที่ 2 บทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชน 1. สามารถอธิบายบทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชนได้
2. สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีและปฏิบัติตนตามบทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชนได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
3
22 มี.ค.51 บทที่ 2 บทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชน 1. สามารถอธิบายบทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชนได้
2. สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีและปฏิบัติตนตามบทบาทวิธีการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสาธารณะชนได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
4
23 มี.ค.51 บทที่ 3 ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้ง 1. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งได้
2. สามารถวิเคราะห์และนำเสนอปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งได้
3. สามารถนำแนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งไปประยุกต์ใช้กับชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์






ครั้งที่/
วันที่ รายการสอน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนและกิจกรรม กลุ่มเรียน/ผู้สอน
5
29 มี.ค.51 บทที่ 3 ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้ง 1. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งได้
2. สามารถวิเคราะห์และนำเสนอปรัชญา แนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งได้
3. สามารถนำแนวคิด ทฤษฎีสันติศึกษาและความขัดแย้งไปประยุกต์ใช้กับชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
6
30 มี.ค.51 บทที่ 4 ทักษะการเจรจาการต่อรองและการไกล่เกลี่ย 1. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายทักษะการเจรจาการต่อรองและการไกล่เกลี่ยได้
2. สามารถนำทักษะการเจรจาการต่อรองและการไกล่เกลี่ยไปประยุกต์ใช้ในชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
7
5 เม.ย.51 บทที่ 5 การอำนวยความสะดวกและการจัดประชาพิจารณ์ 1. มีความรู้ความเข้าใจในการอำนวยความสะดวกและการจัดประชาพิจารณ์
2. สามารถปฏิบัติตนในการอำนวยความสะดวกและการจัดประชาพิจารณ์ ในชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์





ครั้งที่/
วันที่ รายการสอน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนและกิจกรรม กลุ่มเรียน/ผู้สอน
8
6 เม.ย.51 บทที่ 6 กลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ 1. สามารถอธิบายและนำเสนอความรู้เกี่ยวกับกลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติได้
2. สามารถวิเคราะห์และหากลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ จากกรณีศึกษาที่กำหนดให้ได้
3. สามารถนำกลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติไปประยุกต์ใช้ในชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
9
19 เม.ย.51 บทที่ 6 กลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ 1. สามารถอธิบายและนำเสนอความรู้เกี่ยวกับกลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติได้
2. สามารถวิเคราะห์และหากลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ จากกรณีศึกษาที่กำหนดให้ได้
3. สามารถนำกลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติไปประยุกต์ใช้ในชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์











ครั้งที่/
วันที่ รายการสอน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนและกิจกรรม กลุ่มเรียน/ผู้สอน
10
20 เม.ย.51 บทที่ 7 ทักษะกลไกในการบริหารความขัดแย้ง 1. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายถึงทักษะกลไกในการบริหารความขัดแย้ง
2. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับทักษะกลไกในการบริหารความขัดแย้งไปประยุกต์ใช้ได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
11
26 เม.ย.51 บทที่ 8 วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชน 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชน
2. สามารถอธิบายและนำเสนอเกี่ยวกับวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชนได้
3. สามารถนำความรู้ที่ได้ประยุกต์ใช้ในการการสร้างความสมานฉันท์ให้ชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
12
27เม.ย.51 บทที่ 8 วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชน 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชน
2. สามารถอธิบายและนำเสนอเกี่ยวกับวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์ สันติสุขชุมชนได้
3. สามารถนำความรู้ที่ได้ประยุกต์ใช้ในการการสร้างความสมานฉันท์ให้ชุมชนท้องถิ่นได้ 1. บรรยาย
2. กรณีศึกษา
3. กิจกรรม
4. นักศึกษานำเสนอ
5. อภิปราย กลุ่ม 1,2
อ.สุนทรีพรรณ
อ.วันวิสา
กลุ่ม 3,4
อ.ธัชชัย
กลุ่ม 5,6
ผศ. สุริยันต์
3 พ.ค.51 สอบปลายภาค
12. ตำราหลัก / เอกสารประกอบการสอน
12.1 ตำราหลัก
ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล, บรรณาธิการ. มนุษย์กับสันติภาพ. เอกสารตำราหลัก ประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น วิชาสันติศึกษา. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 4. 2551.

12.2 เอกสารอ้างอิง / ค้นคว้า
ชัยวัฒนสถาอานันท, สันติทฤษฎี/วิถีธรรม, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2539
ชัยวัฒน สถาอานันท, “ความรุนแรงกับมายาการแหงเอกลักษณ”,ในสันติศึกษากับการแกปญหาความขัดแยง(วลัยอารุณี บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529
เทียนฉาย กีรนันทน, สันติศึกษากับการแกปญหาความขัดแยง (วลัยอารุณี บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529
พระธรรมปฎก(ป.อ.ปยุตฺโต), การสลายความขัดแยง, กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อเกษตรจํากัด, 2546
ไพศาล วงศวรวิสุทธิ์(เรียบเรียง), สรางสันติดวยมือเรา: คูมือสันติวิธีสําหรับนักปฏิบัติการไรความรุนแรง. กรุงเทพฯ: กลุมประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, 2533
มารค ตามไท,รศ.ดร. “การจัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี” ในสันติวิธี: ยุทธศาสตรชาติเพื่อความมั่นคง. กรุงเทพฯ: สถาบันยุทธศาสตร สํานักงานสภาพความมั่นคงแหงชาติ, 2543
รุงธรรม ศุจิธรรมรักษ, “สันติศึกษากับสันติภาพ”, ในเอกสารการสอนชุดวิชา ๑๐๑๐๑ สันติศึกษาหนวยที่๑-๗, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร, 2533
สิทธิพงศ สิทธิขจร, การบริหารความขัดแยง, กรุงเทพฯ: จงเจริญการพิมพ, 2535
เสริมศักดิ์วิศาลาภรณ, ความขัดแยง: การบริหารเพื่อความสรางสรรค, กรุงเทพฯ: เลิฟแอนดลิฟเพรส จํากัด, 2550
สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. สันติศึกษา หน่วยที่ 8-15 (10101). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช. ปีพิมพ์ : 9 / 2544
อนุช อาภาภิรม. ท่วงทำนองดำเนินชีวิต: วัฒนธรรมแห่งสันติภาพหรือวัฒนธรรมแห่งความรุนแรง. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2543
Paul Wallensteen, “Understanding Conflict Resolution: Fremwork,” in Peter Wallensteen, Editor, Peach Research: Achievement and Charenges Boulder & London: Westview Press
Virginia Rasmussen.1999. Globalization: Remarks on the Issue of Conflict, Prevention and Resolution (Panel). United Nations NGO Conference on Globalization, 1999. Retrieved from the World Wide Web: http://www.wilpf.org.